• Home
  • Lens&knowledge
  • ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก
ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก

ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก

09 มี.ค. 2566   ผู้เข้าชม 277

 

ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก

  1. ปัจจัยทางกรรมพันธ์ุ  จากงานวิจัย พบว่าในกลุ่มเด็กที่มีผู้ปกครองสายตาสั้น ทั้งพ่อและแม่ของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นถึง
    ร้อยละ 40  แต่หากพ่อหรือแม่ของเด็กมีภาวะสายตาสั้น จะส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นที่ร้อยละ 20 และหากพ่อและแม่ที่ไม่มีภาวะสายตาสั้น อาจส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นที่ร้อยละ 10

  2. ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม จากการศึกษาพบสาเหตุเกิดจาก 2 ปัจจัยย่อย ได้แก่

    -  ปัยจัยทางสิ่งแวดส้อมที่ส่งต่อมา (Inherited Enviroment) โดยในเด็กที่มีสายตาสั้นมักอยู่ใสสภาพวะแวดล้อมเดียวกับพ่อและแม่ที่มีสายตาสั้น เช่น การอ่านหนังสือ ทำงานผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือการมองจอโทรศัพท์ในระยะใกล้ เด็กก็จะรับพฤติกรรมแวดล้อมมาแบบเดียวกัน
    -  ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ทำให้เด็กมีความไวต่อสิ่งแวดล้อมที่กระตุ้นสายตาสั้น (Genetic Susceptibility) การที่เด็กอยู่ในสภาพแวดล้อมกับสิ่งกระตุ้นพฤติกรรมสายตาสั้นเป็นระยะเวลาที่ต่อเนื่อง จะส่งผลให้เด็กเรียนรู้พฤติกรรมดังกล่าว อาจทำให้เด็กสายตาสั้น

                 ในทางกลับกันพบว่าสาเหตุที่เป็นปัจจัยป้องกัยสายตาสั้นในเด็ก คือการให้เด็กออกไปมีกิจกรรมนอกบ้าน หรือเรียกว่า Outdoor Activity จากการศึกษาวิจัยพบว่า จำนวนชั่วโมงของการทำกิจกรรมนอกบ้าน สัมพันธ์กับการชะลอของอาการสายตาสั้น โดยแนะนำให้เด็กได้ออกทำกิจกรรมนอกบ้านเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 11 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรืออย่างน้อย 2 ชั่วโมงต่อวัน  (อ้างอิง : นพ.วรากร เทียมทัด, 2563)

 

(รูปภาพ : .samitivejchinatown.com, มปป)

 

 
ตัวอย่างเคสสายตาสั้นในเด็กของร้านแว่นตามุลเลอร์
 
น้องอลิช อายุ 12 ขวบ มาด้วยอาการแว่นเดิมเริ่มไม่ชัด ตัดมาประมาณ 1 ปี ตรวจค่าสายตาอย่างละเอียด พบว่ามีค่าสายตาสั้นเพิ่มขึ้น ข้างละ 1 step จากแว่นเดิม ทางเราจึงได้แนะนำเลนส์กลุ่มช่วยชะลอภาวะสายตาสั้นในเด็ก “ 𝗠𝗶𝗬𝗢𝗦𝗠𝗔𝗥𝗧”
 

โดยสาเหตุของภาวะสายตาสั้นส่วนใหญ่มักเกิดจากพันธุกรรม
หากทั้งพ่อและแม่มีภาวะสายตาสั้นก็ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงที่ลูกจะมีภาวะสายตาสั้นด้วย แต่ในกรณีของน้องอลิช ทั้งคุณพ่อและคุณแม่ไม่ได้มีภาวะสายตาสั้นเลยทั้งคู่ จึงคาดเดาได้ว่า น้องอาจมีภาวะสายตาสั้น โดยเฉพาะช่วยวัยเรียนที่เด็กมักพฤติกรรมการใช้สายตา ไม่ว่าจะเป็นการใช้หน้าจอดิจิทัลหรืออ่านหนังสือในระยะใกล้
 

เลนส์ D.I.M.S ช่วยถนมสายตาเด็ก gen alpha ที่เติบโตมาพร้อมกับหน้าจอดิจิทัล เพราะเมื่อสวมเลนส์ MiYoSMART จะช่วยปรับแสงให้โฟกัสพอดีที่จอตา และแสงที่ผ่านบริเวณขอบเลนส์เกิดโฟกัสสั้นกว่าจอตาทำให้กระบอกตามีความยาวคงที่ช่วยชะลอการเพิ่มขึ้นของสายตาสั้นนั่นเองค่ะ

"มุลเลอร์ ออพติก ขอบคุณน้องอลิช และคุณแม่ที่วางใจมาใช้บริการตรวจสายตากับมุลเลอร์ออพติกนะคะ" 

ชมคลิปรีวิวเพิ่มเติมได้ที่  ▶️  https://www.tiktok.com/@mullerchiangmai/video/7255259667625020678

 

คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ปกครองที่ยังไม่มั่นใจว่าบุตรหลานของท่านมีภาวะสายตาสั้น สามารถปรึกษาและตรวจเช็คสายตาน้องๆอย่างละเอียดโดยนักทัศนมาตรที่ร้านมุลเลอร์ ออพติก ทั้ง 2 สาขา ทางร้านของเรายินดีให้การปรึกษาค่ะ 😊😊 

☑️ จองคิว/ปรึกษาปัญหาสายตา เพิ่มเติม โทร. 𝟬𝟲𝟯 𝟭𝟭𝟰 𝟲𝟯𝟯𝟯
☑️ เปิดทุกวัน 10.00-19.00 น. ยินดีให้บริการค่ะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 


Lens&knowledgeที่เกี่ยวข้อง

วิธีการใช้โปรเกรสซีฟและการปรับตัว
15 พ.ค. 2566

วิธีการใช้โปรเกรสซีฟและการปรับตัว

  สำหรับท่านที่ใส่โปรเกรสซีฟครั้งแรก ทางร้านมีวิธีการปรับตัวและทริกดีๆในการใช้งานโปรเกรสซีฟเบื้องต้น     1. ทริกสำหรับการใช้งานในระยะไกล    ทดลองการใช้งานของแว่นในระยะไกล เช่น ระยะการขับรถ  อ่านป้ายจราจรต่างๆ           - เมื่อลองแว่นโปรเกรสซีฟ ครั้งแรก ไม่ควรหันหน้าส่ายไปมาอย่างรวดเร็ว ให้ค่อยๆ หันหน้าเมื่อต้องการมอง หากส่ายหน้าเร็ว จะทำ
มาทำความรู้จักกับสายตาเอียงกัน 🧐
08 ก.พ. 2567

มาทำความรู้จักกับสายตาเอียงกัน 🧐

 บางท่านอาจยังสงสัยว่าตัวเองมีภาวะสายตาเอียงหรือไม่  มาหาคำตอบไปด้วยกันค่ะ     ภาวะสายตาเอียง (Astigmatism)  คือ ความคลาดเคลื่อนของการหักเหของแสงประเภทหนึ่ง โดยรูปร่างของพื้นผิวโค้งตามปกติของกระจกตาจะโค้งงอเป็นองศาที่แตกต่างกัน กล่าวคือ ความผิดปกติของความโค้งของกระจกตา คนปกติกระจกตาจะโค้งเป็นทรงกลมแบบสมบูรณ์ทำให้แสงที่ตกกระทบเข้าดวงตาถูกรวมกันในจุดโฟกัสเดียวที่จอ
ฝุ่น PM 2.5 ภัยใกล้ดวงตา
14 มี.ค. 2567

ฝุ่น PM 2.5 ภัยใกล้ดวงตา

ในช่วงประมาณ 3 ปีที่ผ่านมา ปัญหา PM 2.5 นี้เริ่มรุนแรงขึ้นมาในประเทศไทยและยังคงเป็นปัญหาอย่างต่อเนื่อง   หน่วยงานป้องกันสิ่งแวดล้อม ประเทศสหรัฐอเมริกา US. EPA (United State Environmental Protection Agency) ได้ทำการกำหนดค่ามาตรฐานของฝุ่นละอองขนาดเล็กในอากาศที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์เอาไว้โดยใช้ค่า PM (Particulate Matters) เป็นเกณฑ์ในการตรวจวัดคุณภาพอากาศ ฝุ่น PM 10 หรือที่โดยทั่วไปเรียกว่า