• Home
  • Lens&knowledge
  • แว่นกันแดดตัวแรกของโลก เรียกว่า "Snow Goggles"
แว่นกันแดดตัวแรกของโลก เรียกว่า "Snow Goggles"

แว่นกันแดดตัวแรกของโลก เรียกว่า "Snow Goggles"

12 พ.ย. 2566   ผู้เข้าชม 263

 

"Snow Goggles"

แว่นตากันหิมะ

 

นับว่าเป็นแว่นกันแดดตัวแรกของโลกที่ถูกใช้งานเมื่อ 2,000 ปีก่อน
โดยประดิษฐ์และดัดแปลงขึ้นมาจากวิถีชีวิตของชาว  "อินูอิต"



ชาวอินูอิต หรือชาวอินุก เป็นนับว่าเป็นประชากรโบราณที่อาจสืบเชื้อสายมาจากมองโกลอยด์ และเกิดการอพยพเข้าสู่ดินแดนของอเมริกาเหนือ ในแถบอาร์คติก (ขั้วโลกเหนือ) และกระจายตัวอาศัยในพื้นที่ของไซบีเรีย อลาสก้า ข้ามไปแคนนาดาและกรีนแลนด์



และเนื่องด้วยลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศแบบขั้วโลก จะมีความหนาวเย็นเป็นเวลาเกือบตลอดทั้งปี อุณหภูมิอาจติดลบถึง 30 องศาเซลเซียล ส่งผลให้พื้นผิวดินและทะเลปกคลุมไปด้วยน้ำแข็งและหิมะ



เมื่อแสงอาทิตย์สาดส่องกระทบลงกับพื้นผิวของหิมะที่มีสีขาวโพน ทำให้เกิดเป็นแสงสะท้อนที่ตกกระทบเข้าสู่ดวงตา เกิดเป็นแสงจ้าสู่ดวงตา

ชาวอินูอิตได้ทำการประดิษฐ์แว่นตา เพื่อสวมใส่ป้อมกันแสงแดดจ้าและแสงที่สะท้อนจากหิมะที่ขาวโพน

แว่นกันแดดหรือ Snow Goggles ประดิษฐ์มาจาก เศษไม้ กระดูกสัตว์ เขี้ยวของวอลรัส หรือจะเป็นเขากวางแคริบู

 

โดยทำการแกะสลักให้เป็นรูปทรงต่างๆ และที่สำคัญ จะกรีดช่องพาดตรงกลางเป็นช่องเล็กๆ ให้ตรงกับดวงตา และสามารถสวมทับกับใบหน้าได้อย่างพอดี และบริเวณด้านหน้าแว่นตา ชาวอินูอิตจะทาด้วยเขม่าหรือดินปืน เพื่อลดแสงจ้าอีกด้วย

ขอบคุณข้อมูลจากเพจ Archeology Aesthetic (10 OCT 2023)



ในปัจจุบันได้มีการนำ Snow Goggles แบบดั้งเดิมเป็นต้นแบบในการสร้างสรรเป็นแว่นตากันแดดที่มีความเป็นแฟชั่นและเข้ากับยุคสมัยมากขึ้น 

 

 


Lens&knowledgeที่เกี่ยวข้อง

ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก
13 มี.ค. 2566

ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก

  ปัจจัยสาเหตุที่คาดว่าก่อให้เกิดอาการสายตาสั้นในเด็ก ปัจจัยทางกรรมพันธ์ุ  จากงานวิจัย พบว่าในกลุ่มเด็กที่มีผู้ปกครองสายตาสั้น ทั้งพ่อและแม่ของเด็ก ส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นถึงร้อยละ 40  แต่หากพ่อหรือแม่ของเด็กมีภาวะสายตาสั้น จะส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นที่ร้อยละ 20 และหากพ่อและแม่ที่ไม่มีภาวะสายตาสั้น อาจส่งผลให้เด็กมีโอกาสสายตาสั้นที่ร้อยละ 10 ปัจจัยจากสิ่งแวดล้อม จากการศึกษ
รู้หรือไม่? ว่าแดดช่วงหน้าหนาวเป็นอันตรายเราถึง 2 เท่า 🤔🤔
15 ธ.ค. 2566

รู้หรือไม่? ว่าแดดช่วงหน้าหนาวเป็นอันตรายเราถึง 2 เท่า 🤔🤔

  แสงแดดเป็นแหล่งที่มาของพลังงานทั้งหมด และมีประโยชน์มากมายต่อการดำรงชีวิต และมีรังสีอัลตราไวโอเลต (Ultraviolet) หรือรังสียูวี (UV) ซึ่งในกระบวนการทางชีวภาพทั่วไปที่ต้องการความสมดุล นั่นคือ แสงแดดเป็นสิ่งที่ดี แต่ก็มีขีดจำกัด เพราะเมื่อได้รับรังสียูวี (UV) ที่มากับแสงแดดมากเกินไปก็อาจเป็นอันตรายต่อผิวและดวงตาได้เช่นกัน   ในช่วงฤดูหนาว ด้วยสภาพอากาศที่เย็นสบายก็อาจทำให้หลายคนละเลยการอยู่
ตอนนี้คุณอาจกำลังฝืนเพ่งมองโดยไม่รู้ตัวอยู่หรือไม่ !!
18 ม.ค. 2567

ตอนนี้คุณอาจกำลังฝืนเพ่งมองโดยไม่รู้ตัวอยู่หรือไม่ !!

การเพ่งมองจะส่งผลร้ายแรงมากแค่ไหน มาหาคำตอบกัน !!   ในปัจจุบันการใช้ชีวิตประจำวัน หลายๆท่านที่กำลังเรียน หรือทำงาน ต้องจดจ่อกับหน้าจออิเลคโทนิค การอ่านหนังสือ ขับรถ หรือแม้แต่การทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเวลานาน  เรื่องที่เลี่ยงไม่ได้เลย นั่นก็คือ อาการตาล้า ที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกเพศ ทุกวัย ซึ่งท่านอาจจะไม่รู้สึกตัวว่ากำลังเพ่งมองอยู่    อาการตาล้า อาจเนื่องมาจากการเพ่งมองม